การฟักไข่ไก่ชนพม่า (การเลี้ยงไก่ชนพม่า)

การฟักไข่ไก่ชนพม่า (การเลี้ยงไก่ชนพม่า) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ การ
ฟักไข่โดยวิธีธรรมชาติหรือการฟักไข่โดยแม่ไก่และการฟักไข่
โดยใช้เครื่องฟัก
1. การฟักไข่โดยวิธีธรรมชาติหรือการฟักไข่โดย 
แม่ไก่เป็นการฟักไข่โดยแม่ไก่ในรังวางไข่หลังจากแม่ไก่
วางไข่ในรังวางไข่ได้จานวน 8-10 ฟองจานวนและอุณหภูมิ
ของไข่จะกระตุ้นบริเวณท้องไก่ส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาท
ไปยังต่อมใต้สมองปลดปล่อยฮอร์โมนโปรแลคตินออกมาสู่
กระแสเลือดทาให้แม่ไก่เกิดรอยฟักบนหน้าอก 3 รอยฟักคือ
หนึ่งรอยตรงกลางและสองรอยด้านข้างบริเวณดังกล่าวขน
จะร่วงมีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมากบวมคล้ายฟองน้าเมื่อ
สัมผัสจะรู้สึกร้อน การฟักไข่โดยวิธีนี้คือการถ่ายเทความร้อน
จากตัวแม่ไก่ไปสู่ไข่โดยผ่านทางรอยฟัก ในขณะฟักไข่
ระยะแรกแม่ไก่จะใช้เวลาส่วนใหญ่ในรังวางไข่ ระยะกลาง
และระยะท้ายแม่ไก่จึงใช้เวลานอกรังวางไข่เพิ่มขึ้น ขณะฟัก
ไข่แม่ไก่จะทาการเขี่ยไข่ (กลับไข่) วันละประมาณ 96 ครั้ง
เพื่อให้ไข่ทุกฟองได้รับความอบอุ่นจากการฟักใกล้เคียงกัน
หลังจากฟักไข่ได้ 21 วันลูกไก่จะเริ่มเจาะเปลือกนาแม่ไก่
และลูกลงจากรังวางไข่ในวันที่ 22 และขังสุ่มให้อาหารและน้า
อย่างน้อย 7 วัน จึงปล่อยให้แม่และลูกหากินตามธรรมชาติ
ต่อไป
2. การฟักไข่โดยใช้เครื่องฟักหลังจากผสมพันธุ์และทาการเก็บไข่ 
ได้ 7 วัน (รวบรวมไข่) ก่อนน าไข่เข้าฟักต้องตรวจเช็คเครื่องฟักไข่ให้
อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีเช่นอุณหภูมิตู้ฟัก 99.5 องศาฟาเรนไฮต์
ความชื้นสัมพัทธ์ 60% อุณหภูมิตู้เกิด 98-99.5 องศาฟาเรนไฮต์
ความชื้นสัมพัทธ์ 70% เมื่อเก็บไข่สะสมได้ 7 วันก็นามาจัดเข้า
เครื่องฟัก (Setter) ซึ่งกลับไข่ (เปิด) วันละ 6 ครั้ง (6 ครั้ง / 24
ชั่วโมง)
ส่องไข่ (candling) เมื่อนาไข่เข้าฟัก 7 วันและ 18 วันเพื่อ
น าไข่ไม่มีเชื้อและไข่เชื้อตายออกจากการฟัก การส่องไข่เมื่อนาเข้า
ฟัก 18 วันเป็นการส่องไข่ก่อนนาลงตู้เกิด (แฮ) หลังจากอยู่ใน
ตู้เกิด 3 วัน (วันที่ 21) ลูกไก่ก็เจาะเปลือกไข่ออกมาได้เก็บไว้ในตู้
เกิด 1 วันจากนั้นในวันที่ 22 นาลูกไก่ออกจากตู้เกิดติดเบอร์ขาชั่ง
น้าหนักตัวซึ่งนาไปลงในทะเบียนประวัติต่อไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น